ที่มา : https://icodetutplus.wordpress.com/2011/08/26
กระบวนการคิดและการออกแบบเครื่องคิดเลขของแต่ละคนอาจจะไม่เหมือนกัน ในที่นี้เราจะใช้ Controls แค่สอง Controls เท่านั้น คือ
- Label จะทำหน้าที่ในส่วนที่แสดงผลการคำนวณออกมาก
- Button จะทำหน้าที่รับตัวเลข และทำการคำนวณ โดยจะแบ่ง Button ออกเป็น 3 กลุ่ม
ขั้นตอนในการการออกแบบฟอร์มเครื่องคิดเลขด้วย โปรแกรม Visual Basic 2008
- เข้าสู่การทำงานของ Visual Basic 2008 คลิกที่ Create Project ดังรูป

- เลือกชนิดของแอพพลิเคชันที่ต้องการ
- ตั้งชื่อโปรเจ็กต์
- คลิกปุ่ม OK

เลือกชนิดของแอพพลิเคชันที่ต้องการ
- ลากคอนโทรล Label และ Button ที่ใช้ในโปรแกรมมาวางบนฟอร์มตามที่ออกแบบไว้ จะได้ฟอร์มดังนี้

ออกแบบฟอร์มตามที่ต้องการขั้นตอนในการเขียนโค้ดลงใน Controls ที่ออกแบบไว้
- ประกาศตัวแปร ไว้ใต้คลาส Calculator เพื่อให้คอนโทรลตัวอื่นเรียกใช้ได้ ดังนี้
Public Class Calculator 'ประกาศตัวแปร 3 ตัวไว้ใต้คลาสเพื่อให้คอนโทรลตัวอื่นเรียกใช้ได้' Dim op As String 'op ตัวแปรของตัวดำเนินการ + - * /' Dim number1 As Integer 'number1 ตัวแปรของตัวเลขตัวแรกที่เราต้องการ' Dim number2 As Integer 'number2 ตัวแปรของตัวเลขตัวสองที่เราต้องการ'
- เขียนโค้ดลงใน Controls Button ทั้ง 0-9 โดยดับเบิ้ลคลิกที่ Controls Button ที่ละ Controls แล้วทำการเขียนโค้ดลงไปดังนี้

ตั้งชื่อปุ่ม 0-9 ที่ properties Name : เป็น num0 ไปจนถึง num9

เปลี่ยนชื่อ TextBox1 เป็น Result
Private Sub num0_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num0.Click Result.Text = Result.Text & "0" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 0 ให้มีค่าเท่ากับ 0' End Sub Private Sub num1_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num1.Click Result.Text = Result.Text & "1" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 1 ให้มีค่าเท่ากับ 1' End Sub Private Sub num2_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num2.Click Result.Text = Result.Text & "2" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 2 ให้มีค่าเท่ากับ 2' End Sub Private Sub num3_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num3.Click Result.Text = Result.Text & "3" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 3 ให้มีค่าเท่ากับ 3' End Sub Private Sub num4_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num4.Click Result.Text = Result.Text & "4" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 4 ให้มีค่าเท่ากับ 4' End Sub Private Sub num5_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num5.Click Result.Text = Result.Text & "5" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 5 ให้มีค่าเท่ากับ 5' End Sub Private Sub num6_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num6.Click Result.Text = Result.Text & "6" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 6 ให้มีค่าเท่ากับ 6' End Sub Private Sub num7_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num7.Click Result.Text = Result.Text & "7" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 7 ให้มีค่าเท่ากับ 7' End Sub Private Sub num8_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num8.Click Result.Text = Result.Text & "8" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 8 ให้มีค่าเท่ากับ 8' End Sub Private Sub num9_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles num9.Click Result.Text = Result.Text & "9" 'กำหนดค่าปุ่มเลข 9 ให้มีค่าเท่ากับ 9' End Sub
- เขียนโค้ดลงใน Controls Button บวก ลบ คูณ หาร และ เท่ากับ ดังนี้

Private Sub Addition_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Addition.Click 'กำหนดค่าให้กับปุ่ม +' number1 = Result.Text Result.Text = "" op = "+" End Sub Private Sub Subtraction_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Subtraction.Click 'กำหนดค่าให้กับปุ่ม -' number1 = Result.Text Result.Text = "" op = "-" End Sub Private Sub Multiplication_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Multiplication.Click 'กำหนดค่าให้กับปุ่ม *' number1 = Result.Text Result.Text = "" op = "x" End Sub Private Sub Division_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles Division.Click 'กำหนดค่าให้กับปุ่ม /' number1 = Result.Text Result.Text = "" op = "/" End Sub Private Sub Button16_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles equivalent.Click'กำหนดค่าปุ่ม = ให้แสดงผลลัพธ์ที่คำนวณแล้ว ถ้าเข้าเงื่อนไขใดก็ทำเงื่อนไขนั้น'
number2 = Result.Text
If op = "+" Then Result.Text = number1 + number2 Else
If op = "-" Then Result.Text = number1 - number2 Else
If op = "x" Then Result.Text = number1 * number2 Else
If op = "/" Then Result.Text = number1 / number2
End Sub
- เขียนโค้ดลงใน Controls Button OFF และ CE ดังนี้

Private Sub OFF_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles OFF.Click 'กำหนดค่าปุ่ม OFF' Me.Close() End Sub Private Sub CE_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles CE.Click 'กำหนดค่าปุ่ม CE' Result.Text = " " End Sub
ตัวอย่างการทำงานของเครื่องคิดเลข7+3 = 10
